ศิษย์ในศตวรรษที่
21ลักษณะศิษย์
- มีอิสระที่จะเลือกสิ่งที่ตนพอใจ
- ต้องการดัดแปลงสิ่งต่างๆให้ตรงตามความต้องการของตน
- ตรวจสอบหาความจริงเบื้องหลัง
- เป็นตัวของตัวเอง
- ความสนุกสนานเป็นส่วนหนึ่งของงาน
- ต้องการเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมต่างๆ
- สร้างนวัตกรรมต่อทุกอย่างในชีวิต
ปัจจัยสำคัญด้านการเรียนรู้
- Authentic learning
- Mental model building
- Internal motivation
- Miltiple intelligence
- Social learning
ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ความเข้าใจบทบาทของการศึกษา
1.
เพื่อการทำงานและเพื่อสังคม
2.
เพื่อฝึกฝนสติปัญญาของตน
3.
เพื่อทำหน้าที่พลเมือง
4.
เพื่อสืบทอดจารีตและคุณค่า- ต้องก้าวข้ามสาระวิชา- เน้นการออกแบบการเรียนรู้
ทักษะเพื่อการดำรงชีวิต
- สาระวิชาหลัก
- หัวข้อสำหรับศตวรรษที่ 21
- ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
- ทักษะด้านการสารสนเทศ สื่อ
และเทคโนโลยี
- ทักษะชีวิตและอาชีพ
- ครูต้องจัดระบบสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มเติม
ศาสตราใหม่สำหรับครูเพื่อศิษย์
3R - Reading
- (W)Riting
- (A)Rithmetics
- (W)Riting
- (A)Rithmetics
7C - Critical thinking & problem solving
- Creativity & Innovation
- Cross-cultural understanding
- Collaboration, teamwork & leadership
- Communications, Information & media literacy
- Computing & ICT literacy
- Career & learning skills
พัฒนาสมองห้าด้าน
- Creativity & Innovation
- Cross-cultural understanding
- Collaboration, teamwork & leadership
- Communications, Information & media literacy
- Computing & ICT literacy
- Career & learning skills
พัฒนาสมองห้าด้าน
1.
สมองด้านวิชาและวินัย
2.
สมองด้านสังเคราะห์
3.
สมองด้านสร้างสรรค์
4.
สมองด้านเคารพให้เกียรติ
5.
สมองด้านจริยธรรม
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
- การเรียนรู้ทักษะในการเรียนรู้
1.
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.
การสื่อสาร
3.
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ขั้นตอนการเรียนรู้
1.
Remember
2.
Understand
3.
Apply
4.
Analyze
5.
Evaluate
6.
Create
- การออกแบบการเรียนรู้ทักษะ
1.
การออกแบบการเรียนรู้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา
2.
การออกแบบการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารและความร่วมมือ
3.
การออกแบบการเรียนรู้ทักษะด้านความสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
- การเรียนแบบ PBL
- เน้นการตั้งคำถามมากกว่าการหาคำตอบ
- ต้องเรียนเองโดยการฝึกฝน
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ทักษะด้านสารสนเทศ
·
ทักษะในการเข้าถึง
·
ทักษะในการประเมินความน่าเชื่อถือ
·
ทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์
·
เข้าถึงสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะด้านสื่อ
·
ด้านรับสารจากสื่อ
·
ด้านสื่อสารออกไปยังสาธารณะ
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
·
ใช้เทคโนโลยีเพื่อวิจัย
·
ใช้เครื่องมือสื่อสาร
·
ปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมาย
ทักษะด้านความเป็นนานาชาติ
- การเรียนแบบ PBL
- ครูต้องศึกษาวัฒนธรรมต่างประเทศ
ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต
- ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
- การมีผลงานและความรับผิดชอบ
ตรวจสอบได้
สมดุลใหม่ในการทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์
ขึ้นกับครู/ครูเป็นตัวตั้ง(Teacher-directed)
สอน
ความรู้
เนื้อหา
ทักษะพื้นฐาน
ข้อความจริงและหลักการ
ทฤษฎี
หลักสูตร
ช่วงเวลา
เหมือนกันทั้งห้อง(One-size-fits-all)
แข่งขัน
ห้องเรียน
ตามตำรา
สอบความรู้
เรียนเพื่อโรงเรียน
|
เด็กเป็นหลัก(Leamer-centered)
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทักษะ
กระบวนการ
ทักษะประยุกต์
คำถามและปัญหา
ปฏิบัติ
โครงการ
ตามความต้องการ
เหมาะสมรายบุคคล(Personalized)
ร่วมมือ
ชุมชนทั่วโลก
ใช้เว็บ
ทดสอบการเรียนรู้
เรียนเพื่อชีวิต
|
สอนน้อย เรียนมาก
- PLC - professional learning communities
- สอนน้อย คือ สอนเท่าที่จำเป็น
- ทบทวนผลการเรียนรู้มาก
การเรียนรู้และการสอน
- ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกเป็นนักตั้งคำถาม
- เรียนวิชา STEM คือ Science, Technology,
Engineering และ Mathematics
การเรียนรู้อย่างมีพลัง
- จักรยานแห่งการเรียนรู้
- เครือข่ายเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์
- Plan คือ การวางแผนการทำงานในโครงการ
- นักเรียนต้องได้เรียนแบบ PBL (Project-Based Learning)
- นักเรียนจะเรียนได้ดีหากได้รับการสอนเรื่อง
how to learn และ what
to learn
- การเรียนกลุ่มย่อยแบบร่วมมือกัน
(Collaborative Small-Group
Learning)
การเรียนรู้แบบใช้โครงการ
1.
ผลของโครงการตอบสนองหรือผูกพันอยู่กับหลักสูตรและเป้าหมายการเรียนรู้
2.
คำถามหลักและปัญหาหลักนำไปสู่การเรียนรู้หลักการสำคัญของเรื่องนั้น
หรือของสาระวิชา
3.
การค้นคว้าของนักเรียนเกี่ยวข้องกับความสงสัยใฝ่รู้ (inquiry) และการสร้างความรู้
4.
นักเรียนทำหน้าที่รับผิดชอบการออกแบบ
และการจัดการการเรียนรู้ของตนเป็นส่วนใหญ่
5.
โครงการอยู่บนฐานของคำถามและปัญหาในชีวิตจริง เป็นของจริง
นักเรียนไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่อง หลอก ๆ
- การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคิด
(Problem-Based Learning)
ครูเพื่อศิษย์ชี้ทางแห่งหายนะที่รออยู่เบื้องหน้า
- ครูอาจเลือกข่าวหนังสือพิมพ์มาให้นักเรียนวิพากษ์กัน
- ร่วมกันระดมความคิดบทเรียนชีวิตที่จะฝึกตนไม่ให้หลงไปกับมายาของโลก
ที่มาภาพ http://lripsm.wix.com/21st
จิตวิทยาการเรียนรู้สำหรับครูเพื่อศิษย์
สมดุลระหว่างความง่ายกับความยาก
ความจริงเกี่ยวกับการคิด
๓ ประการ ที่ตรงกันข้ามกับความเชื่อเดิม
1.
การคิดทำได้ช้า
2.
การคิดนั้นยาก ต้องใช้ความพยายามมาก
3.
ผลของการคิดนั้นไม่แน่ว่าจะถูกต้อง
ความคิดกับความรู้เกื้อกูลกัน
·
ความคิดกับความจำเชื่อมโยงกัน
·
ฝึกทักษะการจำ เพื่อให้มีทั้งความจำใช้งาน (working memory)
·
หน้าที่สำคัญของครู คือสร้างแรงบันดาลใจใคร่เรียนรู้
เพราะคิดจึงจำ
·
ผู้เรียนซึมซับเข้าไปไว้ในความจำ
·
ครูที่เก่งมีคุณลักษณะสำคัญ
๒ ด้าน
1.
รักเอาใจใส่เด็ก
2.
สามารถออกแบบการเรียนรู้ ให้น่าสนใจและเข้าใจง่าย
·
ความจำเป็นผลของการคิด
ความเข้าใจคือความจำจำแลง
สู่การฝึกตนฝนปัญญา
·
การฝึกทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ทักษะพื้นฐานทางการเขียน มีประโยชน์
ดังนี้
1.
ได้ทักษะคิดลึก และได้ความรู้ที่ลึก
2.
ป้องกันการลืม
3.
ช่วยการนำไปใช้ในสถานการณ์อื่น ๆ (transfer)
·
การฝึกฝนมีเป้าหมาย ๒ ระดับ
·
ระดับแรก คือ ให้พอทำเป็น (minimum competence)
·
ระดับที่ 2 คือ
ให้ชำนาญ (proficiency)
ฝึกฝนจนเหมือนตัวจริง
·
คนหัดใหม่มีวิธีทำให้ตนเองคิดแบบผู้เชี่ยวชาญด้วย ๔ กลไก
1.
เพิ่มต้นทุนความรู้ (background knowledge หรือ longterm memory) และจัดระบบไว้อย่างดี ให้ พร้อมใช้ (เรียกว่า functional
knowledge) ดึงเอาไปใช้ตรงตามสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว
2.
ฝึกฝนตนเองให้มีความสามารถใช้พื้นที่ความจำใช้งานที่มีจำกัดในการคิดได้มากและซับซ้อน
ขึ้น
3.
ฝึกคิดแบบลึก (deep
structure) หรือแบบ functional หรือคิดตีความหาความหมาย
(meaning) ไม่ใช่คิดแบบตื้น (surface structure) ตามที่ตาเห็น
4.
คุยกับตัวเองว่า กำลังขบปัญหาอะไรอยู่ ในลักษณะของการมองแบบนามธรรม
หรือแบบสรุป รวบยอด (generalization) และตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการแก้ปัญหานั้นไปในตัว
สอนให้เหมาะต่อความแตกต่างของศิษย์
·
นักเรียนมีความแตกต่าง ๓ แนว
1.
ความสามารถทั่วไปในการเรียนรู้ อาจเรียกว่าเด็กฉลาด
เด็กหัวไวเด็กหัวช้า
2.
รูปแบบการเรียน ตามทฤษฎีมีผู้เรียนแบบเน้นจักษุประสาท
แบบเน้นโสตประสาท และแบบเน้น การเคลื่อนไหว (Visual, Auditory, and Kinesthetic Learners Theory)
3.
ความฉลาด ๘ ด้าน ตามทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences)
-
ทฤษฎีผู้เรียนแบบเน้นจักษุประสาท แบบเน้นโสตประสาท
และแบบเน้นการเคลื่อนไหว (Visual, Auditory, and
Kinesthetic Learners Theory)
-
ทฤษฎีพหุปัญญาหรือ ความถนัด ๘ ด้าน (Multiple Intelligences Theory)
ช่วยศิษย์ที่เรียนอ่อน
·
ความฉลาดของเด็กอยู่ในมือเรา
·
จงชื่นชมพรแสวงของศิษย์ให้มากกว่าพรสวรรค์
ฝึกฝนตนเอง
·
ความจำในระยะยาวสำหรับการทำหน้าที่ครูนี้
1.
ความรู้เชิงสาระวิชา
2.
ความรู้เชิงเทคนิคการสอนสาระวิชา
3.
ความรู้เชิงความรู้ทั่ว ๆ ไป
·
การสะท้อนผลกลับ
1.
เป็นคำวิพากษ์ที่ให้กำลังใจ (Supportive) ไม่สร้างความรู้สึกว่าถูกกดดัน
ซึ่งไม่ได้หมายความ ว่ามีแต่คำชมอย่างหลอก ๆ
ส่วนที่ชมก็ต้องแสดงความจริงใจและเป็นความจริง ที่สำคัญคือ ไม่ใช่เป็นการจับผิด
แต่เป็นการสะท้อนภาพที่มีทั้งภาพบวกและภาพลบ และต้องเอาใจใส่ทั้ง สาระ น้ำเสียง
และสีหน้าท่าทางของการวิพากษ์
2.
บอกพฤติกรรมที่เห็น ไม่ใช่บอกคำวินิจฉัยของตนเอง เช่น ไม่ใช่บอกว่า “ห้องเรียนสับสน อลหม่าน” แต่บอกว่า “สังเกตเห็นว่านักเรียนไม่ค่อยฟังสิ่งที่ครูพูด”
3.
บอกสิ่งที่เพื่อนบั๊ดดี้แสดงความต้องการให้สะท้อนผลกลับ
เท่านั้นแม้จะเห็นส่วนอื่นที่เป็นข้อ เรียนรู้ของตน
แต่เพื่อนบั๊ดดี้ไม่ได้ขอให้บอก ก็ไม่ต้องบอก เป็นการแสดงความเคารพต่ออัตตา
หรือความเป็นส่วนตัวของเพื่อน
ประเด็นสำคัญที่เพื่อนบั๊ดดี้ยังไม่ได้ขอให้สะท้อนผลกลับนี้ จะ
โผล่ขึ้นมาเองในการดูวิดีทัศน์เพื่อสะท้อนภาพ ซึ่งกันและกันในคราวต่อ ๆ ไป
เปลี่ยนมุมความเชื่อเดิมเรื่องการเรียนรู้
บันเทิงชีวิตครูสู่ชุมชนการเรียนรู้131
กำเนิดอานิสงฆ์ของ
PLC
·
การศึกษาต้องเปลี่ยนจากเน้นการสอน
(ของครู) มาเป็นเน้นการเรียน (ของนักเรียน)
·
ครูเปลี่ยนจากการบอกเนื้อหาสาระ
มาเป็นทำหน้าที่สร้างแรงบันดาลใจ
·
PLC คือเครื่องมือที่จะช่วยนำไปสู่การตั้งโจทย์และทำ
“วิจัยในชั้นเรียน”
หักดิบความคิด
·
PLC เป็นกิจกรรมที่ซับซ้อน
(complex) มีหลากหลายองค์ประกอบจึงต้องนิยามจากหลายมุม โดยมีแง่มุมที่สำคัญต่อไปนี้
§ เน้นที่การเรียนรู้
§ มีวัฒนธรรมร่วมมือกันเพื่อการเรียนรู้ของทุกคน ทุกฝ่าย
§ ร่วมกันตั้งคำถามต่อวิธีการที่ดี และตั้งคำถามต่อสภาพปัจจุบัน
§ เน้นการลงมือทำ
§ มุ่งพัฒนาต่อเนื่อง
§ เน้นที่ผล (หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของศิษย์)
ความมุ่งมั่นที่ชัดเจนและทรงคุณค่า
·
บัญญัติ
๗ ประการ ให้หาทางดำเนินการเพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง
1.
หาทางจัดโครงสร้างและระบบเพื่อหนุนการเดินทางหรือขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ
2.
สร้างกระบวนการวัดเพื่อติดตามความเคลื่อนไหว
และทำความเข้าใจเรื่องสำคัญ
3.
เปลี่ยนแปลงทรัพยากรเพื่อสนับสนุนสิ่งสำคัญ
4.
ถามคำถามที่ถูกต้อง
5.
ทำตัวเป็นตัวอย่างในเรื่องที่มีคุณค่า
6.
เฉลิมฉลองความก้าวหน้า
7.
เผชิญหน้ากับผู้ต่อต้านเป้าหมายร่วมของคณะคร
มุ่งเป้าหมายที่การเรียนรู้
(ไม่ใช่การสอน)
·
เน้นที่การเรียนเท่าที่จำเป็น
1.
ใช้เกณฑ์๓
คำถามว่า ความรู้นี้จะคงทนจดจำไปในอนาคตหรือไม่
ความรู้นี้จะช่วยเป็นพื้นฐาน ต่อการเรียนรู้เรื่องอื่น ๆ
หรือไม่ ความรู้นี้จะช่วยความสำเร็จในการเรียนรู้ในชั้นต่อไปหรือไม่
2.
ใช้การประชุมระดมความคิดในกลุ่มครูที่เป็นสมาชิก
PLC ด้วยบัตร ๓ คำ
รักษาไว้ (keep) หยุด หรือเลิก (drop) สร้างสรรค์ (create)ทำอย่างน้อยทุก ๆ ๓ เดือน
·
การเดินทางของ
PLC ที่ครูร่วมกันคิด
ร่วมกันทำ และร่วมกันตีความทำความเข้าใจผลที่เกิดขึ้น
เมื่อนักเรียนบางคนเรียนไม่ทัน
·
ระบบช่วยเหลือนักเรียนที่เรียนอ่อนนี้มีลักษณะเป็นไปตามตัวย่อว่า
SPEED
§ Systematic (ทำเป็นระบบ) หมายถึง
มีการดำเนินการเป็นระบบทั้งโรงเรียน ไม่ใช่เป็นภาระของครูประจำชั้นแต่ละคน
และมีการสื่อสารเป็นลายลักษณ์อักษร (ใคร ทำไม อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร) ไปยังทุกคน
ได้แก่ ครู (ทีมของโรงเรียน) พ่อแม่ และนักเรียน
§ Practical (ทำอย่างเหมาะสม)
การดำเนินการช่วยเหลือเป็นไปได้ตามทรัพยากรที่มีอยู่ของโรงเรียน (เวลา พื้นที่ ครู
และวัสดุ) และดำเนินการได้ต่อเนื่องยั่งยืน ทั้งนี้ ไม่ต้องการทรัพยากรใด ๆ เพิ่ม
แต่ต้องมีการจัดการทรัพยากรเหล่านั้นแตกต่างไปจากเดิม นี่คือ
โอกาสสร้างนวัตกรรมในการจัดการทรัพยากรของโรงเรียน
§ Effective (ทำอย่างได้ผล)
ระบบช่วยเหลือต้องใช้ได้ผลตั้งแต่เริ่มเปิดเทอม
มีเกณฑ์เริ่มเข้าระบบและออกจากระบบที่ยืดหยุ่นเพื่อให้เหมาะสมสำหรับช่วยเหลือนักเรียนที่แตกต่างกัน
และเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ได้ผลดีแก่นักเรียนทุกคน
§ Essential (ทำส่วนที่จำเป็น)
ระบบช่วยเหลือต้องทำแบบมุ่งเน้นที่ประเด็นเรียนรู้สำคัญตามผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Learning
Outcome) ที่กำหนดโดยการทดสอบทั้งแบบประเมินเพื่อพัฒนา (formative
assessment)และ แบบประเมินได้-ตก (summative assessment )
§ Directive (ทำแบบบังคับ)
ระบบช่วยเหลือต้องเป็นการบังคับ ไม่ใช่เปิดให้นักเรียนสมัครใจ
ต้องดำเนินการในเวลาเรียนตามปกติ ครูหรือพ่อแม่ไม่มีสิทธิ์ขอยกเว้นให้แก่นักเรียนคนใด
มุ่งที่ผลลัพธ์
ไม่ใช่แผนยุทธศาสตร์
·
การตั้งเป้าที่ดีและการดำเนินการเพื่อบรรลุเป้า
ต้องมีข้อมูลที่ดี ที่ทันกาล สำหรับนำมาใช้ประโยชน์
พลังของข้อมูลและสารสนเทศ
·
ให้ผู้เชี่ยวชาญการศึกษาเป็นผู้ออกข้อสอบ
·
KM หรือกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีม
PLC
·
การให้คุณค่าต่อการพัฒนา
ประยุกต์ใช้
PLC ทั่วทั้งเขตพื้นที่การศึกษา
·
เน้นที่บทบาทผู้บริหาร
วิธีจัดการความเห็นพ้องและความขัดแย้ง
·
ประชุมระดมความคิดโดยใช้การคิดแบบหมวกหกใบ
·
ความเห็นไม่ตรงกันไม่เป็นไร
หากร่วมกันทำเป็นใช้ได้
ชุมชนแห่งผู้นำ
·
โรงเรียนจะกลายเป็นองค์กรเรียนรู้
PLC เป็นเครื่องมือของการเปลี่ยนชีวิตครู
·
เปลี่ยนระดับจิตวิญญาณและวัฒนธรรม
เวทีครูเพื่อศิษย์ไทยครั้งแรก
·
ครูเพื่อศิษย์
ต้องฝึกทักษะ
1.
การตีความ
ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
2.
ทักษะการเรียนรู้ด้วยการลงมือทำเอง
3.
ทักษะการออกแบบ
การอำนวยความสะดวก และการเชียร์ให้ศิษย์เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ
4.
ทักษะการประเมินความก้าวหน้าเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของศิษย์ที่เป็น
formative evaluation หรือ empowerment
evaluation
เรื่องเล่าตามบริบท203
เรื่องเล่าของครูฝรั่ง
- เตรียมทำการบ้านเพื่อการเป็นครู
- ให้ได้ความไว้วางใจจากศิษย์
- สอนศิษย์กับสอนหลักสูตร แตกต่างกัน
- ถ้อยคำที่ก้องอยู่ในหูเด็ก
- เตรียมตัว เตรียมตัว และเตรียมตัว
- จัดเอกสารและเตรียมตนเอง
- ทำสัปดาห์แรกให้เป็นสัปดาห์แห่งความประทับใจ
- เตรียมพร้อมรับ “การทดสอบครู” และสร้างความพึงใจแก่ศิษย์
- วินัยไม่ใช่สิ่งน่ารังเกียจ
- สร้างนิสัยรักเรียน
- การอ่าน
- ศิราณีตอบปัญหาครู และนักเรียน
- ประหยัดเวลาและพลังงาน
- ยี่สิบปีจากนี้ไป
เรื่องเล่าโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- วีธีการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
- เคาะกระโหลกด้วยกะลา
เรื่องเล่าของโรงเรียนนอกกะลา
- ความสำเร็จทางการศึกษา
- ความฉลาดทางด้านร่างกาย
- ความฉลาดทางด้านสติปัญญา
- ทำไมต้องเรียนคณิตศาสตร์
เรื่องเล่าครูเพลินกับการพัฒนา
- การยกคุณภาพชั้นเรียน ๑
- การยกคุณภาพชั้นเรียน ๒
- เรียนรู้จากจำนวนและตัวเลข
- การ “เผยตน” ของฟลุ๊ค
มองอนาคต...ปฏิรูปการศึกษาไทย341
เรียนรู้จาก
Malcolm Gladwell
- เป็นการเรียนรู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ (interactive learning through action)
- ครู (หรือพ่อแม่) ต้องชวนนักเรียน (หรือลูกหลาน) ทบทวนการเรียนรู้ (reflection หรือ AAR)
- ทักษะนี้สอนไม่ได้แต่เรียนรู้ได้
ที่มาภาพ http://www.famousauthors.org
Inquiry-Based Learning
·
เป็นการเรียนโดยให้ผู้เรียนตั้งคำถาม
·
ต้องเน้นการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะส่งเสริมความริเริ่มสร้างสรรค์
ทักษะการจัดการสอบ
·
ต้องมองการสอบเป็น
“ตัวช่วย” ต่อการเรียนรู้
·
ต้องเปลี่ยนการสอบให้เป็นการวัดการเรียนรู้ที่แท้จริงของศิษย์
PLC สู่ TTLC หรือ ชุมชนครูเพื่อศิษย์
·
ครูเพื่อศิษย์ต้องออกแบบการเรียนรู้ของศิษย์ของตน
โดยศึกษาหลักการจากตัวอย่างที่มีในประเทศไทยและในต่างประเทศ
แรงต้านที่อาจต้องเผชิญ
1. นโยบายการศึกษายังเป็นนโยบายสำหรับยุคอุตสาหกรรม
เน้น mass education และเน้นประสิทธิภาพซึ่งเคยใช้ได้ผล
แต่บัดนี้ตกยุคเสียแล้ว
2. ระบบตรวจสอบและระบบวัดผลแบบทดสอบตามมาตรฐาน
(standardized testing systems) ที่เน้นวัดความสามารถด้านทักษะพื้นฐานเช่นการอ่าน การคิดเลข
แต่ไม่วัดทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
3. แรงเฉื่อยหรือความคุ้นเคยกับระบบการสอนแบบครูบอกเนื้อหาวิชาให้นักเรียนจดจำ
ที่ทำต่อ ๆ กันมาหลายสิบปีหรือเป็นร้อยปี แม้จะมีครูจำนวนหนึ่งเปลี่ยนไปแล้ว
คือเปลี่ยนไปทำหน้าที่ช่วยเหลือเด็กให้สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ผ่านการค้นพบ
การสำรวจ และการเรียนจากโครงงาน (PBL
- Project Based Learning)
4. ผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมพิมพ์จำหน่ายตำราเรียน
5. ความหวั่นกลัวว่าความรู้เชิงทฤษฎีจะถูกละเลย
หันไปให้ความสำคัญต่อทักษะมากเกินไป ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ความรู้ ๒
แนวนี้ต้องเกื้อกูล (synergy) ซึ่งกันและกัน
6. อิทธิพลของพ่อแม่ที่ยึดติดกับการเรียนแบบดั้งเดิมที่ตนเคยเรียนมาและทำให้ตนประสบความสำเร็จในชีวิตการงาน
จึงอยากให้ลูกหลานได้เรียนตามแบบที่ตนเคยเรียน สอบข้อสอบที่ตนเคยสอบ
และรู้สึกไม่สบายใจที่โรงเรียนทดลองวิธีการเรียนรู้ใหม่ๆ ที่ตนไม่คุ้นเคย
และอาจทำให้ลูกหลานของตนไม่ประสบความสำเร็จในชีวิต
สิ่งที่ประเทศไทยต้องทำเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
1. ยกเลิกระบบการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งของครู
(คศ.) ที่ใช้ในปัจจุบัน คือให้ “ทำผลงาน” ในกระดาษ และมีการติววิธีทำผลงาน
เปลี่ยนมาเป็นเลื่อนตำแหน่งเมื่อผลสัมฤทธิ์ของลูกศิษย์ได้ผลดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการทดสอบระดับชาติ
๓ ปีติดต่อกัน จนได้ผลในระดับผ่านเกินร้อยละ๙๐ ของจำนวนเด็กนักเรียนทั้งหมด
ซึ่งหมายความว่า ต้องมีการทดสอบระดับชาติในทุกชั้น
2. มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์เพิ่มผลสัมฤทธิ์ของศิษย์ทั้งโรงเรียน
หรือทั้งเขตการศึกษา แล้วคณะครูและทุกฝ่ายช่วยกันดำเนินการ เน้นที่การมี PLC ระดับโรงเรียน ระดับเขตการศึกษา
และระดับประเทศ เมื่อนักเรียนทั้งโรงเรียน หรือทั้งเขตการศึกษาสอบ National
Education Test (NET) ผ่านเกินร้อยละ ๙๐
ก็ได้รับรางวัลทั่วทั้งโรงเรียน หรือทั่วทั้งเขตการศึกษา
3. ปราบปรามคอรัปชั่นเรียกเงินในการบรรจุหรือโยกย้ายครู
นี่เป็นความชั่ว ที่บ่อนทำลายระบบการศึกษาไทย ต้องมีมาตรการตรวจจับและลงโทษรุนแรง
4. แบ่งเงินลงทุนเพิ่มด้านการศึกษา
ครึ่งหนึ่งไปไว้สนับสนุนการเรียนรู้ของครูประจำการในลักษณะการเรียนรู้ในการทำหน้าที่ครู
ที่เรียกว่า PLC (Professional Learning
Community) ซึ่งเน้นที่การเรียนรู้ (learning) ของครู ไม่ใช่เน้นที่ การฝึกอบรม (training) และเน้นการเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อให้ครูจับกลุ่มช่วยเหลือกัน
5. จัดงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประจำปี
ด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
6. ยกระดับข้อสอบ
National Education Test (NET) ให้ทดสอบการคิดที่ซับซ้อน (complex thinking) และทักษะที่ซับซ้อน
(complex skills) ตามแนวทางทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
7. ส่งเสริมการเรียนแบบ
Project-Based Learning (PBL) โดยส่งเสริมให้มี PLC ของครูที่เน้นจัดการเรียนรู้แบบ
PBL ให้รางวัลและยกย่องครูที่จัด PBL ได้เก่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น